""""

This site has no offensive, violent, or improper contents! However, it reflects some brutal violations of human rights that exist in our sad world. I challenge all Google staff who made such an accusation to contact me directly instead of merely seeing such a post as violating the terms. My email is president@tahrglobal.org. And don't you see that a column on the right is for Thai people to report human rights violations!!!

Wednesday, April 29, 2015

สมยศ และ นักโทษ 112 กับ "ตรวนพระราชทาน"

สมยศ และ นักโทษ 112 กับ "ตรวนพระราชทาน"


ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง


Thursday, April 16, 2015

คำสั่งของคณะคสช ฉบับที่ ๔/ ๒๕๕๘ คืออะไร?

คำสั่งของคณะคสช ฉบับที่ ๔/ ๒๕๕๘ คืออะไร?
Thanaboon Chiranuvat
คำสั่งของคณะคสช ฉบับที่ ๔/ ๒๕๕๘ คืออะไร?
นี่คือคำตอบ ในฐานะ ที่เป็นนักกฏหมายระหว่างประเทศ:
นี่คือ พยานหลักฐาน อีกชิ้นหนึ่ง ที่จะใช้เป็นเชือกรัดคอ เหล่อัลไต ทั้งนี้เพราะสถานภาพแห่งตัวตน ไม่มีตามกฏหมายโดยชอบ คำว่า " กฏหมาย" ก็คือ "กฏหมายอันมีที่มา จากสนธิสัญญา ซึ่งได้แก่
๑. Convention Against Corruption, 2003,
๒. the Geneva Conventions, 1949
๓. the Hague Conventions, 1899 - 1907
๔. the Convention Against Trans - National Organized Crimes and Protocol thereto, 2004
๕ คำพิพากษาของ Appeal Court ในกรุงเฮก ( at the Hague) 29 October 2009ในคดีที่ชื่อว่า Sesay et. al
ทั้งห้าขั้นตอนนี้ เป็นยิ่งกว่า และอยู่เหนือกว่า "แม่น้ำทั้งห้าสายของคณะ คสช."
การออกคำสั่งอย่างนี้มาในเวลานี้ ไม่ต่างจาก
๑. แสดงอาการจนมุม
๒. ดื้อ ทำผิดกฏเกณฑ์ ทั้งห้าทางสากล ที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ซ้ำแล้วซ้ำอีก (Repeated Actions)
๓.นานาชาติ เขารู้เช่นเห็นชาติคุณหมดแล้ว จะไปทำอะไร? ที่ไหนอย่างไร? เขาจะเอาด้วย เป็นเรื่องยาก
๔. คุณแน่ใจนะว่านานาชาติ เขาไม่รู้ว่า "เวลานี้สิ่งที่คนไทยทั้งประเทศ มีความต้องการอย่างมากที่สุด เพื่อให้บ้านเมืองเกิดความสงบ และ สันติสุข คือคำว่า [ประชาธิปไตย อย่างที่ได้รับการปฏิบัติกันอยู่ และ จับต้องได้เป็นรูปธรรม ในระดับนานาชาติ]"
๕. เลิกกะล่อนกับ นานาชาติ ได้แล้ว เผื่อว่า จะได้มีทางเดิน ให้กับตัวเอง และครอบครัว เดินออกไปได้อย่างปลอดภัย และ มั่นคง
คุณเหล่ อัลไต นี่คือคำเตือน จากคนที่หวังดี ต่อบ้านเมืองนี้ อย่างบริสุทธิ์ใจ.

Wednesday, April 15, 2015

หลักฐานยืนยันว่า ร่มเกล้า และคณะ มุ่งสังหารประชาชน และได้สังหารประชาชนมือเปล่าจริง (ในยามวิกาล)

หลักฐานยืนยันว่า ร่มเกล้า และคณะ มุ่งสังหารประชาชน และได้สังหารประชาชนมือเปล่าจริง (ในยามวิกาล)

Uploaded on Apr 17, 2010 Eyewitness report, Thai devil government slander "Red shirt kill their own". But the truth is the devil Thai army kill 23 innocent




สิ่งที่คลิปนี้พิสูจน์ได้และชี้ให้เราเห็นคือ

  1. ทหารยิงเสื้อแดงจริง (และพยายามเอาศพไปซ่อน เหมือนปีก่อนหน้า)
  2. ทหารเข้าไปรุกล้ำบริเวณชุมนุมในยามวิกาล เป็นอันตราย สุ่มเสี่ยง และแฝงเจตนาร้าย ผิดกับหลักสากล
  3. ทหารได้มีสไนเปอร์อยู่บนยอดตึก ซุ่มยิงประชาชนจริง และมีคนตายเพราะสไนเปอร์จริง
  4. คนสั่งการ ย่อมปัดความรับผิดชอบไม่ได้ เพราะต่อให้มีชายชุดดำ หรือผู้ที่ปนอยู่ในคนเสื้อแดงจริง ทหารก็ไม่มีสิทธิยิงประชาชนมือเปล่า โดยไม่ต้องรับผิด
  5. คดีนี้ ไม่คืบหน้า และวันนี้ทหารที่มีส่วนปฏิบัติงานได้รวบอำนาจไว้ แล้วจึงหาทางยัดทหารเข้าไปดูแลคดี เพื่อหาทางทำลายหลักฐาน หรือทำให้ตนได้เปรียบ รอดพ้นคดีฆาตกรรมหมู่อันน่าสยดสยองนี้

Monday, April 13, 2015

สัมภาษณ์ผอ.รร.บ้านในหยง:กรณีผู้ปกครอง ร้องมูลนิธิมุสลิมเพื่อสันติ สาขาภูเก็ตเรื่องรร.ห้ามคลุมฮิญาบ

สัมภาษณ์ผอ.รร.บ้านในหยง:กรณีผู้ปกครอง ร้องมูลนิธิมุสลิมเพื่อสันติ สาขาภูเก็ตเรื่องรร.ห้ามคลุมฮิญาบ


สัมภาษณ์ผอ.รร.บ้านในหยง:กรณีผู้ปกครอง ร้องมูลนิธิมุสลิมเพื่อสันติ สาขาภูเก็ตเรื่องรร.ห้ามคลุมฮิญาบ


Sunday, April 12, 2015

การสังหารชาวพุทธ 12 เมษายน 2558 เป็นฆาตกรรมต่อมนุษยชาติ หรือไม่?


หากนี่เป็นการกระทำตามขบวนการ และอุดมการณ์ทางการเมืองหรือศาสนา อย่างเป็นระบบ และเป็นส่งหนึ่งของการฆ่าฟันประชาชนต่างศาสนาเหมือนที่ผ่านมาในอดีตด้วย  ก็ต้องถือว่า นี่เป็น  Crimes against humanity สามารถนำขึ้นฟ้องร้องต่อกระบวนการยุติธรรมในต่างประเทศด้วย 
ดูรูปเต็ม ๆ ได้ที่ https://www.facebook.com/Alirajaeeth/posts/1087762234573888
ใคร ก็ตามที่อยู่เบื้องหลังในการสังหารพี่น้องชาวไทยพุทธ 4 ราย ที่ ม.12 บ.น้อมเกล้า อ.สุคิริน จ.นราธิวาส ขอให้พระผู้เป็นเจ้าทรงโปรดลงทัณฑ์ผู้ที่ก่ออาชญากรรมครั้งนี้ด้วยเถิด
ในฐานะมุสลิมคนหนึ่งขอประณามอาชญากรรมของการเสียมเขาครั้งนี้
เหตุเกิดเมื่อวันที่ 12 เม.ย. 2558 เวลา 18.10 น. คนร้ายกราดยิงบ้านเรือนราษฎรไทยพุทธ บ.น้อมเกล้า ม.12 ต./อ. สุคิริน เป็นเหตุให้ราษฎรเสียชีวิตจำนวน 4 ราย คือ
1.นางอารี รัตนะ
2นายสมนึก รัตนะ
3นายจูน อีเอิน
4นางดำ อีเอิน
ลำดับที่ 1-2 เป็นแม่ลูก ลำดับที่ 3-4 สองสามีภรรยา

Friday, April 10, 2015

ดร.เพียงดิน รักไทย 2015-04-10 รายชื่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสังหารหมู่ 2553


ดร.เพียงดิน รักไทย 2015-04-10 รายชื่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสังหารหมู่ 2553 http://youtu.be/8XTFg0aJkXE
 

บรรดผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเกือบทั้งหมด วันนี้ มารวมตัวแบ่งปันอำนาจกัน เพื่อหาทางปลดล็อคโทษบาปมหันต์ ที่ได้ร่วมกันสังหารหมู่ประชาชนจำนวนมากที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย
และขณะเดียวกัน ก็แบ่งปันผลประโยชน์ร่วมกันอย่างพร้อมหน้าพร้อมตา



โปรดดูรายงานนี้ ประกอบการพิจารณา

ประมวลเหตุการณ์..ถล่มทหารเสื้อราชีนี..ถล่มบูรพาพยัคฆ์ 10เมษยน53
ประมวลเหตุการณ์ ถล่มทหารเสื้อราชีนี..ถล่มบูรพาพยัคฆ์ 10เมษยน53เสื้อแดง ปะทะ ทหาร เข้าถล่มทหารเสื้อราชีนี..ถล่มบูรพาพยัคฆ์ แตกกระจาย ที่ราชดำเนิน (ตอนที่ 1 part 1) ในครั้งนี้ ทหารมีการทำงานที่ขัดขากันเอง เนื่องจากมาหลายหน่วย งานร่วมและทหารมีสองฝ่ายที่เรียกกันว่าทหารแตงโมเข้าร่วม ปะทะ............
Posted by Red Thai on Friday, April 10, 2015

บทสุดท้ายของประยุทธ์ จันทร์โอชา วีรบุรุษ หรือ ซาตาน? โดย อ.สุรชัย-ดีเจซุนโฮ

บทสุดท้ายของประยุทธ์ จันทร์โอชา วีรบุรุษ หรือ ซาตาน? โดย อ.สุรชัย-ดีเจซุนโฮ










ปฏิวัติประเทศไทย#24 อ.สุรชัย แซ่ด่าน 10-4-58 https://www.youtube.com/watch?v=aOwbkMoK-8Y Published on Apr 10, 2015 ตอน: บทสุดท้ายของประยุทธ์ จันทร์โอชา วีรบุรุษ หรือ ซาตาน mp3 9,158 Kb 01:18:08 http://www.mediafire.com/download/ypuyiuomp8lze3h/revtnThlnd+24+Surachai+10-4-58.mp3 
http://www.2shared.com/audio/CyCM0FC8/revtnThlnd_24_Surachai_10-4-58.html http://www.4shared.com/mp3/4plQ7NySba/revtnThlnd_24_Surachai_10-4-58.html?

Tuesday, April 7, 2015

ควรให้มหาวิทยาลัยรัฐ ออกนอกระบบหรือไม่? เสียงที่ต้องฟังจากเยาวชน

ควรให้มหาวิทยาลัยรัฐ ออกนอกระบบหรือไม่? เสียงที่ต้องฟังจากเยาวชน

แถลงการณ์ สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน เรื่องการใช้อำนาจตามมาตรา 44 แทนกฎอัยการศึก

แถลงการณ์ สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน เรื่องการใช้อำนาจตามมาตรา 44 แทนกฎอัยการศึก
ตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ออกคำสั่งที่3/2558 เรื่องการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของชาติ โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 44[1]แทนการใช้กฎอัยการศึก ที่ยกเลิกไปเมื่อวันที่ 1เมษายน พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมานั้น

สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนเห็นว่า การประกาศใช้คำสั่งที่ 3/2558ดังกล่าว ที่ให้อำนาจแก่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีอำนาจเหนืออำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการรวมถึงคำสั่งใดๆที่เกี่ยวเนื่องกับบทบัญญัติข้างต้น ขัดต่อหลักการแบ่งแยกอำนาจ ซึ่งเป็นหลักการพื้นฐานสำคัญของการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยและขัดต่อหลักการพื้นฐานทางด้านสิทธิมนุษยชนด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้

1. การให้อำนาจแก่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีอำนาจเหนือ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ เป็นการรวบอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ขัดต่อหลักนิติรัฐ ที่แบ่งแยกอำนาจเพื่อถ่วงดุล ป้องกันการใช้อำนาจปกครองตามอำเภอใจ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ สิทธิและเสรีภาพของประชาชน อีกทั้งการกำหนดให้การกระทำตามคำสั่งฉบับนี้ไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง ย่อมเป็นการใช้อำนาจโดยความประสงค์หลีกเลี่ยงการตรวจสอบของสถาบันตุลาการที่เป็นอิสระซึ่งทำให้ประชาชนที่ถูกละเมิดสิทธิไม่สามารถใช้สิทธิทางศาลเพื่อตรวจสอบการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ตามคำสั่งดังกล่าว

2. การออกคำสั่งฉบับดังกล่าวเปิดโอกาสให้มีการใช้อำนาจของทหารในฐานะ “เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย”กระทำการใดๆตามคำสั่งฉบับดังกล่าว เช่น ออกคำสั่งเรียก บุคคล จับกุม ค้น ห้ามการเสนอข่าว ฯ รวมถึงการทำหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานสอบสวน โดยการพิจารณาคดีของพลเรือนในข้อกล่าวหาตั้งแต่มาตรา107 ถึง 112 และมาตรา 113 ถึง 118 ประมวลกฎหมายอาญา และความผิดตามประกาศและคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.)ยังคงถูกกำหนดให้อยู่ภายใต้เขตอำนาจของศาลทหาร ตาม ประกาศ คสช. ฉบับที่ 37/2557ฉบับที่38/2557และฉบับที่ 50/2557 ซึ่งขัดต่อหลักประกันสิทธิขั้นพื้นฐานและสิทธิที่จะได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมโดยตุลาการที่เป็นอิสระซึ่งได้รับรองไว้ตามปฏิญญาสากลแห่งสหประชาชาติ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ในหลายๆด้านเช่น สิทธิเสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร เสรีภาพของสื่อมวลชน สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพในการชุมนุม และสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งจะมีผลทำให้สิทธิเสรีภาพของประชาชนตกอยู่ในความเสี่ยงที่จะถูกละเมิดมากยิ่งขึ้นและส่งผลโดยตรงต่อการฟื้นฟูประชาธิปไตยอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้

ดังนั้น สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน องค์กร และบุคคลดังมีรายชื่อท้ายแถลงการณ์ฉบับนี้ ในฐานะที่เป็นนักกฎหมาย ทนายความ และบุคลากรที่ทำงานด้านกฎหมายและสิทธิมนุษยชน มีความห่วงกังวลอย่างยิ่งต่อการใช้อำนาจที่เบ็ดเสร็จเด็ดขาดและละเลยต่อหลักกฎหมายโดยสิ้นเชิง จึงขอให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ยกเลิกคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 3/2558 และยุติการใช้อำนาจโดยอาศัยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)ฯ มาตรา 44 ในการบริหารประเทศเพื่อเป็นหลักประกันว่าสิทธิเสรีภาพของประชาชนจะไม่ถูกละเมิดโดยอำเภอใจจากอำนาจที่ไร้การถ่วงดุลและอยู่เหนือการตรวจสอบ

ด้วยความเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

1. สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (สนส.)

2. สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.)

3. เครือข่ายนักวิชาการเพื่อสังคมและองค์กรชุมชนภาคใต้

4. นายสมชาย หอมลออ นักกฎหมาย

5. นายไพโรจน์ พลเพชร นักกฎหมาย

6. นายแสงชัย รัตนเสรีวงษ์ ทนายความ

7. นายชัยรัตน์ แสงอรุณ ทนายความ

8. นายถาวร ปิยะวงศ์รุ่งเรือง ทนายความ

9. นายรัษฎา มนูรัษฎา ทนายความ

10. นายสุรศิษฏ์ เหลืองอรัญนภา ทนายความ

11. นายศราวุฒิ ประทุมราช นักกฎหมาย

12. นายสุรชัย ตรงงาม ทนายความ

13. นายสุมิตรชัย หัตถสาร ทนายความ

14. นางสาว ส.รัตนมณี พลกล้า ทนายความ

15. นายสมนึก ตุ้มสุภาพ ทนายความ

16. นางอำพร สังข์ทอง ทนายความ

17. นางสาวเยาวลักษ์ อนุพันธุ์ ทนายความ

18. นางสาวดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล นักกฎหมาย

19. นางสาวปรีดา ทองชุมนุม ทนายความ

20. นางสาวนภาพร สงปรางค์ ทนายความ

21. นายธีรพันธุ์ พันธุ์คีรี ทนายความ

22. นายสงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ นักกฎหมาย

23. นางสาวจันทร์จิรา จันทร์แผ้ว ทนายความ

24. นายเลาฟั้ง บัณฑิตเทอดสกุล ทนายความ

25. นายพนม บุตะเขียว ทนายความ

26. นางสาวคอรีเยาะ มานุแช ทนายความ

27. นางสาวประดิษฐา ปริยแก้วฟ้า นักกฎหมาย

28. นางสาวอัจฉรา สุทธิสุนทรินทร์ นักกฎหมาย

29. นางสาวพุทธิณี โกพัฒน์ตา นักกฎหมาย

30. นางสาวผรัณดา ปานแก้ว ทนายความ

31. นายสนธยา โคตปัญญา นักกฎหมาย

32. นายอภิราชย์ ขันธ์เสน นักกฎหมาย

33. นางสาวโรสนานี หะยีสะแม นักกฎหมาย

34. นางสาววลีรัตน์ ชูวา นักกฎหมาย

35. นางสาวคุ้มเกล้า ส่งสมบูรณ์ ทนายความ

36. นางสาวมนทนา ดวงประภา ทนายความ

37. นางสาววราภรณ์ อุทัยรังษี ทนายความ

38. นางสาวอัญญาณี ไชยชมภู นักกฎหมาย

39. นางสาวภาวิณี ชุมศรี ทนายความ

40. นายธรธรร การมั่งมี นักกฎหมาย

41. นายอับดุลเลาะห์ หะยีอาบู ทนายความ

42. นายกฤษดา ขุนณรงค์ ทนายความ

43. นางสาวพูนสุข พูนสุขเจริญ ทนายความ

44. นางสาวสุพรรษา มะเหร็ม ทนายความ

45. นายดนัยกฤต ศรีคาน นักกฎหมาย

46. นางสาวชันษา สุพรรณเมือง นักกฎหมาย

47. นางสาวอัชฌา สงฆ์เจริญ นักกฎหมาย

48. นางสาวอุมาพร สังขะเลขา นักกฎหมาย

49. นายอัมรินทร์ สายจันทร์ นักกฎหมาย

50. นางสาวสมสกุล ศรีเมธีกุล ทนายความ

51. นายวีรวัฒน์ อบโอ ทนายความ

52. นางสาวอังคณา อนุจร ทนายความ

53. นายนรากร นาเมืองรักษ์ นักกฎหมาย

54. นางสาววราภรณ์ อินทนนท์ นักกฎหมาย

55. นางสาวจันทิมา ตรีเลิศ นักกฎหมาย

56. นายมนตรี อัจฉริยสกุลชัย นักกฎหมาย

57. นางสาวมึดา นาวานาถ นักกฎหมาย

58. นางสาวจริงจัง นะแส นักกฎหมาย

59. นางสาวฐิติวรดา ธรรมพิริยะกุล นักกฎหมาย

60. นายอิสระพงศ์ เวียงวงษ์ นักกฎหมาย

61. นางสาวภัทรานิษฐ์ เยาดำ ทนายความ

62. นางสาวแววตา สาเลศ นักกฎหมาย

63. นายเจษฎา จางจันทร์ ทนายความ

64. นางสาวอชิชญา อ๊อตวงษ์ นักกฎหมาย

65. นางสาวกาญจนา อัครชาติ นักกฎหมาย

66. นายกฤษดา ชีช่วง ทนายความ

67. นายบัณฑิต หอมเกษ นักกฎหมาย

68. นางสาวเฉลิมศรี ประเสริฐศรี นักกฎหมาย

69. นายสุทธิเกียรติ คชโส นักกฎหมาย

70. นางสาวศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ ทนายความ

71. นายสุทธิเกียรติ ธรรมดุล ทนายความ

72. นางสาวมนัญญา พูลศิริ นักกฎหมาย

73. นางสาวอุทุมพร ดวงแก้ว นักกฎหมาย

74. นายวัชระศักดิ์ วิจิตรจันทร์ นักกฎหมาย

75. นายจตุภัทร์ บุญภัทรรักษา นักกฎหมาย

76. นางสาวขวัญหทัย ปทุมถาวรสกุล นักกฎหมาย

77. นางสาวมาซีเต๊าะ หมันหล๊ะ นักกฎหมาย

78. นางสาวศิวาพร ฝอดสูงเนิน นักกฎหมาย

79. นายกิตติชัย จงไกรจักร นักกฎหมาย

80. นายอภิสาร ยานุช ทนายความ

81. นางณัฐาศิริ เบิร์กแมน ทนายความ

82. นายสุริยงค์ คงกระพันธ์ ทนายความ

83. นายฐิติรัช สร้อยสุวรรณ นักกฎหมาย

84. นางสาวหนึ่งฤทัย คชสาร นักกฎหมาย

85. นางสาวสุธาทิพย์ อมปาน นักกฎหมาย

86. นางสาวณัฐวดี เต็งพานิชกุล นักกฎหมาย

87. นายสากีมัน เบญจเดชา ทนายความ

88. นายปภพ เสียมหาญ นักกฎหมาย

89. นางสาวปรียาภรณ์ ขันกำเหนิด นักกฎหมาย

90. นางสาวบุศรา สิงหบุตร นักกฎหมาย

91. นายวนวัฒก์ สัมมานิธิ นักกฎหมาย

92. นายอนุชา วินทะไชย นักสิทธิมนุษยชน

93. นางสาวหทัยกานต์ เรณูมาศ

94. นางสาวสิริภาภรณ์ ชื่นศรี

95. นางสาวสุภาภรณ์ มาลัยลอย

96. นางไพรัตน์ จันทร์ทอง

97. นางสาวสิริลักษณ์ ศรีประสิทธิ์

98. นางสาวยลดา ธนกรสกุล

99. นายพนม ทะโน

100. นางศุกาญจน์ตา สุขไผ่ตา

101. นางสาวชนิดาภา ประกายเพชร

102. นายวศิน ไป่ทาฟอง ทนายความ

103. นายพิจิตร์ สุขะยุวนะ ทนายความ

104. นายวิสุทธิ์ ฉันทแดนสุวรรณ นักกฎหมาย

105. นายวณัฐ โคสาสุ นักกฎหมาย

106. นายนนทวุฒิ ราชกาวี นักกฎหมาย

107. นายพร้อมพงษ์ วงศ์ราษฎร์ นักกฎหมาย

108. นางสาวนวศร ลิ่มสกุล นักกฎหมาย

109. นายวิศรุต คิดดี นักกฎหมาย

110. นางสาวอมรรัตน์ คลังกำเหนิด นักกฎหมาย

111. นายอัดฮา โล๊ะมะ อาสาสมัครผู้ช่วยทนายความ

112. นายมาหะมะซูไลนี เต๊ะมาลอ อาสาสมัครผู้ช่วยทนายความ

113. นางสาวนพรักษ์ ยังเอี่ยม นักกฎหมาย

114. นางสาวนิจนิรันดร์ อวะภาค นักกฎหมาย

115. นางสาวศิริกาญจน์ เจริญศิริ นักกฎหมาย

116. นายสิทธิพร ภาศภิรมย์ ทนายความ

117. นายปรีดา นาคผิว ทนายความ

118. นายนัสเซอร์ อาจวาริน ทนายความ

119. นายวรุตม์ บุณฑริก ทนายความ

120. นางสาวจิรารัตน์ มูลศิริ ทนายความ

121. นางสาวลืนหอม สายฟ้า นักกฎหมาย

122. นายวุฒิชัย พากดวงใจ นักกฎหมาย

123. นายจิรวัฒน์ สุริยะโชติชยางกูล นักกฎหมาย

124. นายกิตติศักดิ์ เที่ยงตรง ทนายควม

125. ว่าที่ ร.ต. ชวนันท์ กนกวิจิตรศิลป์ ทนายความ

126. นายอานนท์ ศรีบุญโรจน์ นักวิชาการด้านนักกฎหมาย

127. นายเจษฎา ทองขาว นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

128. นางสาวเสาวณีย์ แก้วจุลกาญจน์ นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

129. นายทศพล ทรรศนกุลพันธ์ นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

130. นายขรรค์เพชร ชายทวีป นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

131. รศ.ดร.ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์ นักวิชาการ

132. นายชฤทธิ์ มีสิทธิ์ ทนายความ

Monday, April 6, 2015

เผด็จการทหาร - เชื้อไฟความรุนแรงภาคใต้ (เครดิต จอม เพชรประดับ)

เผด็จการทหาร - เชื้อไฟความรุนแรงภาคใต้ (เครดิต จอม เพชรประดับ)
Published on Apr 6, 2015

อาจารย์เอกรินทร์ ต่วนศิริ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ซึ่งกำลังศึกษาปริญญาเอก ประเทศตุรกี ให้สัมภาษณ์ Thaivoicmedia เกี่ยวกับสถานการณ์ความไม่สงบในภาคใต้ และการตรวจค้น จับกุม นักศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในขณะนี้ว่า ภายใต้กฎอัยการศึก ทหารยังคงมีอำนาจเต็ม และมองนักศึกษาในจังหวัดภาคใต้ว่าเป็นส่วน­หนึ่งของขบวนการก่อความไม่สงบทั้ง ๆ ที่ นักศึกษาในจว.ภาคใต้ เคลื่อนไหวเพื่อที่จะเปิดพื้นที่สร้างความ­เข้าใจ ให้ยุติการใช้ความรุนแรงมากกว่า เชื่อว่า รัฐบาลเผด็จการทหาร จะไม่สามารถแก้ปัญหาความรุนแรงภาคใต้ได้ และไม่สามารถสร้างสันติสุขให้เกิดขึ้นได้ เพราะแม้แต่กระบวนการพูดคุยก็ไม่คืบหน้า และเป็นการนับหนึ่งใหม่ ไม่ได้เชื่อมต่อกับสิ่งที่รัฐบาลที่แล้ว ทั้ง ๆ ที่ควรจะตั้งเป็นวาระแห่งชาติ อีกทั้งไม่ได้พูดกับกลุ่มที่มีอำนาจและมีบ­ทบาทที่สุดในพื้นที่ ขณะเดียวกัน ความไม่แน่นอนทางการเมืองในบรรยากาศของการ­เป็นเผด็จการ ก็ไม่เอื้อให้การพูดคุยเพื่อสันติสุขเกิดข­ึ้นได้อย่างแน่นอน สำหรับนักศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่กำ­ลังศึกษาอยู่ในต่างประเทศขณะนี้ ให้ความสนใจต่อปัญหาภาคใต้และการเมืองในปร­ะเทศไทยอย่างมาก แต่ไมได้มีส่วนร่วม หรือสนับสนุนขบวนการก่อความรุนแรงในภาคใต้ หรือ แม้แต่กลุ่ม ไอซิส เหมือนที่ฝ่ายความมั่นคงตั้งข้อสงสัยแต่อย­่างใด
  • Category




เผด็จการทหาร - เชื้อไฟความรุนแรงภาคใต้

แถลงการณ์ การละเมิดสิทธิมนุษยชน-คุกคามนักศึกษา





แถลงการณ์ การละเมิดสิทธิมนุษยชน-คุกคามนักศึกษา
Posted by Nisakorn Heng on Saturday, April 4, 2015

โดนจับลิขสิทธิ์‬เพราะมีเพลงในโน๊ตบุ๊คส่วนตัว เดี๋ยวนี้ลิขสิทธิ์โทรล่อจับถึงบ้าน

โดนจับลิขสิทธิ์‬เพราะมีเพลงในโน๊ตบุ๊คส่วนตัว เดี๋ยวนี้ลิขสิทธิ์โทรล่อจับถึงบ้าน









บันทีกเลือด 10 เมษา - 19 พ.ค. 2553 คนสั่งยังลอยหน้า คนดำเนินการฆ่าได้อำนาจ!!!

บันทีกเลือด 10 เมษา - 19 พ.ค. 2553 คนสั่งยังลอยหน้า คนดำเนินการฆ่าได้อำนาจ!!!



"Red Shirt" , Anti- Abhisit government demonstrators confronted the soldiers and military vehicles during the clashes on Saturday, April 10, 2010, in Bangkok, Thailand. Thai security forces launched a large-scale crackdown on anti-government demonstrators who have been staging protests in the Thai capital since the past month.



The Royal thai army started using force Thai red shirts camp.

 




Violence grips Thai capital as troops fire bullets at anti-government protesters. Police push to end a two-month political standoff and clear the Bangkok streets of Red Shirts sparks clashes
that kill 2 and wound 45.

  


Uploaded on May 19, 2010 In the Thai capital Bangkok, anti-government protesters have surrendered after an armed assault on their fortified encampment. Troops say the situations under control after 7 key 'Red Shirt' leaders gave themselves up to prevent further bloodshed. It comes after two protesters and an Italian news photographer were killed when the camp was stormed. 42 people have died and more than 300 injured in clashes during the last week. Demonstrators had been calling for resignation of the Primer and fresh elections.




ชัดๆ บุกปราบประชาชนเสื้อแดง 19 พฤษภาคม 2553

 


นำรถถุงออกเผชิญหน้าประชาชน


ที่แยกวังแดง





คำถาม สิบเมษา ใครฆ่าประชาชน?





ยังมีอีกมากมายหลายคลิป ที่บอกให้เรารู้ว่า ทหารของพระราชาและพระราชินีไทย ฆ่าประชาชนอย่างเลือดเย็น จริง ๆ!! เพื่อใคร?  ความยุติธรรมอยู่ไหน?  จะปล่อยให้เป็นอย่างนี้ถึงลูกหลานหรืออย่างไร?

บันทึก ฆาตกรรมกรือเซะ โดยสื่อต่างชาติ ใครถูกใครผิด ขบวนการยุติธรรมที่แท้จริง จะบอกได้

บันทึก ฆาตกรรมกรือเซะ โดยสื่อต่างชาติ ใครถูกใครผิด ขบวนการยุติธรรมที่แท้จริง จะบอกได้





_____





Sunday, April 5, 2015

ทุนผูกขาดไทย ใช้มุสลิม บุกยึด จังหวัดน่าน เพื่อกรุยทางกอบโกยการลงทุนใหญ่จากจีน (?)

ทุนผูกขาดไทย ใช้มุสลิม บุกยึด จังหวัดน่าน เพื่อกรุยทางกอบโกยการลงทุนใหญ่จากจีน (?)
มีพี่น้องส่งข่าวมาแบบสั้น ๆ ต้องการรายละเอียดอีกมากนะครับ
เป็นห่วงพี่น้องไทยทั่วประเทศ วันนี้ คือโอกาสสำคัญที่ทุนศักดินาและเครือข่าย
จะถือโอกาสกอบโกยเอาสิ่งต่าง ๆ มาไว้ในครอบครอง โดยอาศัยจังหวะ
ที่เศรษฐกิจอ่อนแอสุด ๆ  เจ้าของกิจการระดับกลางและเล็ก รวมถึงคนระดับแรงงาน
ระดับชาวบ้าน ที่จะจนลงถึงขั้น ล้มละลาย  แต่พวกทุนสามานย์ตัวจริง
จะถือโอกาสนี้ ไปยึดครองสิ่งต่าง ๆ ทั้งโดยใช้กฎหมาย และระเบียบที่พวกตนสร้างกันเอง
หรือใช้ความได้เปรียบด้านทุนรอน

ลองอ่านดูนะครับ แล้วหากมีข้อมูลเพิ่มเติมช่วยแจ้งด้วย
ส่วนพี่น้องน่าน ต้องช่วยกันจับตานะครับ วันนี้แนวรบของพวกท่าน
คือการดูแลสิ่งต่าง ๆ ในจังหวัดของท่านเป็นสำคัญครับ



++++++++++++

แผนกอบโกยผลประโยชน์ที่จะเข้ามาในจังหวัดน่าน กลุ่มทุนอำมาตย์ครองธุรกิจประเทศไทยถึงกับไปสร้าง โรงงานอาหารฮัลลาลในพื้นที่จังหวัดน่านแล้ว มีการจัดเตรียมการนำคนของกลุ่ม กปปส.มุสลิมเข้าไปตั้งชุมชนเพื่อสร้างเมืองอย่างเร่งด่วนก่อนเปิดรับการโครงการไหลมาเทมาของธุรกิจอำมาตย์ ก่อนเปิดเป็นเขตเศรษฐกิจที่จะมากับถนนนสายหลักที่ตัดผ่านมาจากประเทศจีนเข้าไทย  ส่วนประชาชนชาวน่านเจ้าในพื้นที่ อำมาตย์ไม่เคยถามไถ่ กูจะเอาตามใจพวกกูทุกเรื่อง!!ชาวน่านจึงต้องรณรงค์ต่อต้านทุกรูปแบบ  ถ้าจะกดหัวเรา พวกเราก็จะเงยหน้าขึ้นสู้กับปัญหาที่กำลังสะสมไว้ให้ลูกหลายในอนาคตข้างหน้า

Friday, April 3, 2015

UN แถลง ไทยเลิกอัยการศึก ‘ไร้ความหมาย’

UN แถลง ไทยเลิกอัยการศึก ‘ไร้ความหมาย’

หลอก UN ยากจังเลย UN แถลง ไทยเลิกอัยการศึก ‘ไร้ความหมาย’ข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติชี้ กรณีไทยใช้คำสั่งหั...

Posted by กูต้องได้ 100 ล้าน จากทักษิณแน่ๆ on Thursday, April 2, 2015

UN แถลง ไทยเลิกอัยการศึก ‘ไร้ความหมาย’

หลอก UN ยากจังเลย UN แถลง ไทยเลิกอัยการศึก ‘ไร้ความหมาย’ข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติชี้ กรณีไทยใช้คำสั่งหั...

Posted by กูต้องได้ 100 ล้าน จากทักษิณแน่ๆ on Thursday, April 2, 2015

Thursday, April 2, 2015

สู้ให้สูญเสียน้อย? วันลุกฮือ? อนาคตยิ่งลักษณ์ อ.ชูพงศ์-ดร.เพียงดิน ทางออกประเทศไทย

สู้ให้สูญเสียน้อย? วันลุกฮือ? อนาคตยิ่งลักษณ์ อ.ชูพงศ์-ดร.เพียงดิน ทางออกประเทศไทย สู้ให้สูญเสียน้อย? วันลุกฮือ? อนาคตยิ่งลักษณ์ อ.ชูพงศ์-ดร.เพียงดิน ทางออกประเทศไทย


 



Wednesday, April 1, 2015

สันดานชนชั้นเจ้า... จุลเจิม ยุคล A monarchist's dictatorial and terroristic view in Thailand


Here is the direct translation of the above web-based opinions by Chulcherm Yugala, a monarchist: 

"I think Prime Minister Prayuth should use Article 44 to order execution and imprisonment against the 20-30 scums (including some shitty monks) so that the country would be peaceful. All depends on whether the PM is brave enough to do it."
ชัดเจนว่า หม่อมฯ ตนนี้ สมควรต้องถูกปรับทัศนคติ เมื่อประชาชนยึดอำนาจอธิปไตยคืนมา และสร้างประชาธิปไตยได้สำเร็จแล้ว 







สันดานชนชั้นเจ้า... จุลเจิม ยุคล A monarchist's dictatorial and terroristic view in Thailand

HUMAN RIGHTS WATCH ระบุ ประยุทธ์ ตั้งใจรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ ไม่คิดสร้าง ปชต.




For Immediate Release

Thailand: Junta Leader Seeks Sweeping Powers
Would Invoke Constitutional Provision With Limitless Scope

(New York, April 1, 2015) – Thai Prime Minister Gen. Prayuth Chan-ocha is seeking to invoke a constitutional provision that would give him unlimited powers without safeguards against human rights violations, Human Rights Watch said today.

On March 31, 2015, Prayuth announced that he has requested King Bhumibol Adulyadej’s permission to lift martial law, which has been enforced nationwide since the May 2014 military coup. Prayuth, who chairs the ruling National Council for Peace and Order (NCPO) junta, said he would replace the Martial Law Act of 1914 with section 44 of the 2014 interim constitution, which would allow him to issue orders without administrative, legislative, or judicial oversight or accountability.

“General Prayuth’s activation of constitution section 44 will mark Thailand’s deepening descent into dictatorship,” said
Brad Adams, Asia director at Human Rights Watch. “Thailand’s friends abroad should not be fooled by this obvious sleight of hand by the junta leader to replace martial law with a constitutional provision that effectively provides unlimited and unaccountable powers.”

Under section 44, Prayuth as the NCPO chairman can issue orders and undertake acts without regard to the human rights implications, Human Rights Watch said. Section 44 states that “where the head of the NCPO is of opinion that it is necessary for the benefit of reforms in any field, or to strengthen public unity and harmony, or for the prevention, disruption or suppression of any act that undermines public peace and order or national security, the monarchy, national economics or administration of State affairs,” the head of the NCPO is empowered to “issue orders, suspend or act as deemed necessary.… Such actions are completely legal and constitutional.” No judicial or other oversight mechanism exists to examine use of these powers. Prayuth only needs to report his decisions and actions to the National Legislative Assembly and to the prime minister, a position he also occupies, after they are taken.

Prayuth has previously
stated that orders issued under section 44 would allow the military to arrest and detain civilians. Since the May 2014 coup, the junta has detained hundreds of politicians, activists, journalists, and others who they accuse of supporting the deposed Yingluck Shinawatra government, disrespecting or offending the monarchy, or being involved in anti-coup protests and activities. Military personnel have interrogated many of these detainees in secret and unauthorized military facilities without providing access to their lawyers or ensuring other safeguards against mistreatment.

The NCPO has continually refused to provide information about people in secret detention. The risk of enforced disappearance, torture, and other ill treatment significantly increases when detainees are held incommunicado in military detention. However, there have been no indications of any official inquiry by Thai authorities into reports of torture and mistreatment in military custody.

The use of military courts, which lack independence and fail to comply with international fair trial standards, to try civilians is likely to continue under section 44, Human Rights Watch said. Three days after seizing power on May 22, 2014, the NCPO issued its 37th order, which replaced civilian courts with military tribunals for some offenses – including actions violating penal code articles 107 to 112, which concern lese majeste crimes, and crimes regarding national security and sedition as stipulated in penal code articles 113 to 118. Individuals who violate the NCPO’s orders have also been subjected to trial by military court. Hundreds of people, most of them political dissidents, have been sent to trials in military courts since the coup.

The imposition of section 44 means the junta’s lifting of martial law is unlikely to lead to improvement of respect for human rights in Thailand, Human Rights Watch said. The junta will have legal justification to continue its crackdown on those exercising their fundamental rights and freedoms. Criticism of the government can still be prosecuted, peaceful political activity banned, free speech censored and subject to punishment, and opposition of military rule not permitted.

“General Prayuth’s action to tighten rather than loosen his grip on power puts the restoration of democratic civilian rule further into the future,” Adams said. “Concerted pressure from Thailand’s allies is urgently needed to reverse this dangerous course.”

For more Human Rights Watch reporting on Thailand, please visit:
http://www.hrw.org/thailand

For more information, please contact:
In Bangkok, Sunai Phasuk (English and Thai):+66-81-632-3052 (mobile); or
phasuks@hrw.org Twitter: @SunaiBKK
In San Francisco, Brad Adams (English): +1-347-463-3531 (mobile); or
adamsb@hrw.org Twitter: @BradAdamsHRW
In Washington, DC, John Sifton (English): +1-646-479-2499 (mobile); or
siftonj@hrw.org Twitter: @johnsifton







HUMAN RIGHTS WATCH ระบุ ประยุทธ์ ตั้งใจรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ ไม่คิดสร้าง ปชต.